ผู้เขียน : อ.อรัญญา บุญธรรม
09/17/12
ประธาน อ. อรัญญา บุญธรรม ผู้บันทึกการเรียนรู้ อ. ลลนา ประทุม อาจารย์ผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. อ.วราภรณ์ จรเจริญ 2. อ.โศภิณสิริ ยุทธวิสุทธิ 3. ดร.เชษฐา แก้วพรม 4. อ. มงคล ส่องสว่างธรรม 5. ดร. ศรีสกุล เฉียบแหลม จากการเตรียมการสอนภาคทดลองวิชาแนวคิดพื้นฐานและหลักการพยาบาล ฐาน การตรวจสอบสัญญาณชีพ โดยการรวบรวมความรู้จากแหล่งต่างๆพบมีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องการวัดความดันโลหิตในบางขั้นตอน กล่าวคือ แต่เดิมในการพัน Cuff นั้นจะต้องให้สายยางของเครื่องวัดความดันทั้ง 2 สายคร่อมบริเวณ Bracial Pulse ซึ่งในตำราก็ไม่ได้ระบุเหตุผลว่าเพราะเหตุใด แต่จากการรวบรวมเอกสารเรื่องการวัดความดันโลหิตพบว่าตำราใหม่ๆทั้งตำราภาษาไทย และ Text book ใช้วิธีพัน Cuff โดยให้กึ่งกลางของ Bladder (ถุงลม) ทับบริเวณ Bracial Pulse ซึ่งการพัน Cuff ด้วยวิธีใหม่นี้จะทำให้ส่วนกลางของถุงลมซึ่งจะขยายตัวก่อนบริเวณอื่นเกิดแรงกดมากที่สุดซึ่งกั้นเลือดได้เร็วขึ้นโดยไม้ต้องบีบลมจนเต็ม Cuff [...]
Tags: การจัดการความรู้, การวัดความดันโลหิต, ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า
ผู้เขียน : อ.ปาลีรัญญ์ ฐาสิรสวัสดิ์
09/13/12
ความสำคัญของการสะท้อนคิด การใช้การสะท้อนคิดในการศึกษาพยาบาล และการปฏิบัติการพยาบาล มีบทบาทสำคัญในการทำให้นักศึกษาพยาบาลเรียนรู้และถูกกระตุ้นท้าทายให้ “คิดแบบพยาบาล” (think like a nurse) ไม่ใช่แต่เพียงการท่องจำความรู้ที่ถ่ายทอดจากความจำและริมปากของครูผู้สอน เพื่อนำเอาไปสอบเท่านั้น ช่วยให้การเรียนพยาบาล และการปฏิบัติเกิดความหมาย (meaningful) และเมื่อการกระทำต่างๆ การเรียนรู้มีความหมายขึ้นในจิตใจแล้ว การเรียนรู้และการคงอยู่ในวิชาชีพก็สูงขึ้นด้วย การสะท้อนคิดเป็นตัวกลางสำคัญในการเชื่อมความรู้เข้ากับการปฏิบัติอย่างมีความหมายที่แท้จริง ช่วยให้เกิดการทบทวนความรู้จากประสบการณ์ (experiential knowledge) และช่วยให้เกิดการสั่งสมความรู้ในตัวบุคคล (tacit knowledge) การใช้การสะท้อนคิดมาบูรณาการในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนพยาบาล และพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาล จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญและไม่ควรมองข้าม การสะท้อนคิดได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวาง และได้รับการยอมรับว่าทำให้การเรียนการสอน และการปฏิบัติการพยาบาลเกิดความหมายขึ้นในจิตใจของผู้เรียนและของพยาบาล (make sense of the experience) ทำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมอย่างตื่นตัว พัฒนาตัวเองเป็นพยาบาลที่ดีได้อย่างชัดเจน และทำให้พยาบาลลาออกหรือทิ้งงานการพยาบาลน้อยลง มีการให้พยาบาลด้วยหัวใจมากขึ้น เป้าหมายของการศึกษาคือ ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างแท้จริง (transformative education) Related Posts by Tagsกลยุทธ์การสร้างทักษะในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สู่การเรียนการสอน ครั้งที่ 4 กลยุทธ์การสร้างทักษะในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สู่การเรียนการสอน ครั้งที่ 3 การแลกเปลี่ยนเรียนรุ้ “Paliative care’ [...]
Tags: การเรียนการสอน, พยาบาล, ภาควิชาการพยาบาลเด็ก ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า, สะท้อนความคิด
ผู้เขียน : อ.เพ็ญนภา พิสัยพันธุ์
09/12/12
สรุปผล การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาตน พัฒนางาน สร้างเสริมค่านิยมองค์กร ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน กลุ่ม งานห้องสมุด / ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้เขียน อ.เพ็ญนภา พิสัยพันธุ์ ผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นางสาววิภา สุขสำราญ นางสาววิภา ขันทองดี นางจิรพรรณ จูเทพ นางสาวสุดาทิพย์ บัวแย้ม นางอำนวย ไกรนิวรณ์ นางสมทรง ทำสวน นางสาวฒาลิศา เอื้อนจิตร นางพรศตภัทร์ ชาวสวน นางสาวพีรตา พุ่มคำ นางสาวผกามาศ คณะเบญจะ นางสาวนาตยา ญาณประดับ นางสาวสอยดาว ปัญจะการ สรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Related Posts by Tagsสรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาคน พัฒนางาน เสริมสร้างค่านิยมองค์กร ณ ประเทศสิงคโปร์ โดยเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน งานสนาม ยาม คนขับรถและงานประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี กลยุทธ์ในการพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในงานส่งเสริมสุขภาพจิต [...]
Tags: ค่านิยมองค์กร, งานพัฒนาบุคลากร, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า
ผู้เขียน : อ.รัชชนก สิทธิเวช
09/12/12
โครงการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานวิจัยและวิชาการร่วมกับแหล่งฝึก ระหว่างวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี และกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ ๘ วันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๓:๓๐-๑๖:๐๐ น. ณ ห้องประชุมอเนกประสงค์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี เรื่อง Update on Chronic Disease Management: มิติทางการพยาบาล วิทยากร คุณศักดิ์นรินทร์ หลิมเจริญ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลเขาคิชกูฏ จังหวัดจันทบุรี ผู้เข้าร่วมประชุม จากวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี จำนวน ๒๘ คน จากโรงพยาบาลพระปกเกล้า ๒ คน รวมผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด ๓๐ คน สรุปสาระการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปประเด็นสำคัญจากการนำเสนอของคุณศักดิ์นรินทร์ หลิมเจริญ โรคเรื้อรัง หมายถึงโรคที่มีการเปลี่ยนแปลงช้า ๆ เป็นเวลานาน (WHO, 2549) ส่วนภาวะเรื้อรัง [...]
Tags: chronic disease management, การจัดการความรู้, จันทบุรี, ฝ่ายวิจัยฯ, ภาวะป่วยเรื้อรัง, มิติทางการพยาบาล, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า, โรงพยาบาลพระปกเกล้า
ผู้เขียน : อ.รัชชนก สิทธิเวช
09/01/12
โครงการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานวิจัยและวิชาการร่วมกับแหล่งฝึก ระหว่างวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี และกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ ๗ วันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๓:๓๐-๑๖:๐๐ น. ณ ห้องประชุมอเนกประสงค์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี เรื่อง การป้องกันภาวะตัวเย็นในทารกแรกเกิด วิทยากร อาจารย์จริยาพร วรรณโชติ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี คุณจินตนา สายทอง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ หอผู้ป่วยเด็กทารกแรกเกิด โรงพยาบาลพระปกเกล้า คุณจอมขวัญ เนรัญชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ งานเวชปฏิบัติครอบครัว โรงพยาบาลมะขาม ผู้เข้าร่วมประชุม จากวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี จำนวน ๓๐ คน จากโรงพยาบาลพระปกเกล้า ๘ คน รวมผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด ๓๘ คน สรุปสาระการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปประเด็นสำคัญจากการนำเสนอของอาจารย์จริยาพร วรรณโชติ ภาวะตัวเย็น (อุณหภูมิกายต่ำ) [...]
Tags: การจัดการความรู้, จันทบุรี, ทารกตัวเย็น, ป้องกันภาวะตัวเย็นในทารกแรกเกิด, ฝ่ายวิจัยฯ, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า, โรงพยาบาลพระปกเกล้า