สรุปผลการแลกเปลี่ยนเรื่องการสังเคราะห์งานวิจัย

สรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการเข้าร่วมประชุมเรื่องการสังเคราะห์งานวิจัย วิทยากร : รศ.ดร.โยธิน    แสวงดี    สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล จัดโดย  กลุ่มงานวิจัย  สถาบันพระบรมราชชนก วันที่ 21-23  มิถุนายน  2554 สถานที่  โรงแรมเมธาวลัย  อำเภอชะอำ  จังหวัดเพชรบุรี ผู้เข้าประชุมและร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คือ  ดร.มัณฑนา   เหมชะญาติ  ดร.พรฤดี   นิธิรัตน์   ดร.เชษฐา   แก้วพรม  อาจารย์ทิพวรรณ   ลิ้มประไพพงษ์   อาจารย์รุ่งนภา    เขียวชะอ่ำ  และอาจารย์จริยาพร  วรรณโชติ ผู้เขียน อาจารย์ทิพวรรณ   ลิ้มประไพพงษ์ สรุปการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสังเคราะห์งานวิจัย เป็นการตรวจสอบผลงานวิจัย   เพื่อหาจุดเด่นจุดด้อยในแต่ละขั้นตอนของงานวิจัย  เพื่อหาแนวทางพัฒนาหรือประเด็นใหม่ๆ เพื่อทำวิจัยครั้งต่อไป   และอาจค้นพบข้อความรู้ใหม่ที่แตกต่างออกไป   การสังเคราะห์งานวิจัยมักทำ  2  มิติ  ดังนี้ 1. การสังเคราะห์ระดับ มหภาค  (ภาพรวมขององค์กร )  เป็นการสังเคราะห์เพื่อพัฒนางานวิจัยขององค์กร  ทำเพื่อพิจารณาคุณภาพงานวิจัยของหน่วยงานที่ทำเสร็จแล้ว  มีเล่มใดบ้างหรือเรื่องอะไรบ้างที่ทำได้ดีหรือทำได้ถูกต้อง และมีเรื่องใดบ้างทำได้ไม่ดี  [...]

Tags: , ,

การใช้ PIM Score ในการประเมินผลลัพธ์ของกระบวนการให้บริการในหอผู้ป่วยวิกฤตกุมารเวช

โครงการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานวิจัยและวิชาการร่วมกับแหล่งฝึก ระหว่างวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี และกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 4 วันที่ 25  เมษายน 2554    เวลา 13.30 -16.00 น. ณ ห้องประชุมลีลาวดี   โรงพยาบาลพระปกเกล้า   เรื่อง การใช้ PIM Score  ในการประเมินผลลัพธ์ของกระบวนการให้บริการในหอผู้ป่วยวิกฤตกุมารเวช วิทยากร นายแพทย์ทนง   ประสานพานิช  นายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางเด็ก คุณปรีดาวรรณ  บุญมาก  พยาบาลวิชาชีพชำนาญการทางด้านการพยาบาลเด็ก ผู้เข้าร่วมประชุม จากวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า  จันทบุรี จำนวน  30  คน จากโรงพยาบาลพระปกเกล้า  23  คน รวมผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด  53  คน สรุปสาระการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลักการคิดของทีมผู้รักษามีแนวคิดว่าการช่วยฟื้นคืนชีพในหอผู้ป่วยเด็กเป็นสิ่งที่ไม่ควรจะเกิดขึ้น  ดังนั้นทีมการรักษาจึงพยายามคิดหาเครื่องมือในการเฝ้าระวังหรือสังเกตอาการที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้ป่วย  เรียกว่า  “MEWS  Score”  (Monitoring  Early  Warming  Sign  Score) การวัดอัตราการตาย  (Measures [...]

Tags: , , ,

สาระสำคัญของการเรียนรู้ที่ได้จากการอบรมพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยสำหรับอาจารย์ใหม่

การจัดการความรู้ด้านการผลิตงานวิจัยที่มีคุณภาพ สาระสำคัญของการเรียนรู้ที่ได้จากการอบรมพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยสำหรับอาจารย์ใหม่ เมื่อวันที่  29 เมษายน 2554 ประธานการประชุม: อ.ดร.มัณฑนา  เหมชะญาติ ผู้เข้าร่วมประชุม 1. อ.ดร.พรฤดี นิธิรัตน์ 2. อ.ดร.ปิ่นนเรศ กาศอุดม 3. อ.รสสุคนธ์ เจริญสัตย์สิริ 4. อ.วรัญญา ชลธารกัมปนาท 5. อ.นริชชญา หาดแก้ว 6. อ.อรพรรณ บุญลือ 7. อ.วรรณศิริ ประจันโน 8. อ.โสระยา ซื่อตรง 9. อ.เสาวภา เล็กวงษ์ 10. อ.สุนิสา ดีทน 11. อ.สุภา คำมะฤทธิ์ Related Posts by Tagsรายงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ CoP “การผลิตผลงานวิจัยเพื่อความก้าวหน้าเชิงวิชาการ” ครั้งที่ 1 การพยาบาลแบบประคับประคอง Heart to Heart: [...]

Tags: ,

สาระสำคัญของการเรียนรู้ที่ได้จากการอบรมพัฒนาศักยภาพนักวิจัยของบุคลากรทางสาธารณสุข

การจัดการความรู้ด้านการผลิตงานวิจัยที่มีคุณภาพ สาระสำคัญของการเรียนรู้ที่ได้จากการอบรมพัฒนาศักยภาพนักวิจัยของบุคลากรทางสาธารณสุข เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 ประธานการประชุม: อ.ดร.มัณฑนา เหมชะญาติ ผู้เข้าร่วมประชุม      1. อ.ทิพวรรณ ลิ้มประไพพงษ์      2. อ.ดร.พรฤดี นิธิรัตน์      3. อ.ดร.ปิ่นนเรศ กาศอุดม      4. อ.คณิสร แก้วแดง สาระสำคัญของการเรียนรู้จากการอบรมพัฒนาศักยภาพนักวิจัยของบุคลากรทางสาธารณสุข      สาระสำคัญที่สรุปได้คือ “ต้องทำให้ทุกขั้นตอนของการวิจัยไม่ใช่เรื่องยาก น่าสนใจ และทำวิจัยแล้วผู้วิจัยรู้สึกว่าตนเองฉลาดขึ้น”      จากประสบการณ์ที่ได้ดำเนินโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยให้กับบุคลากรทางสาธารณสุขและจากการเป็นวิทยากรบรรยายและวิทยากรพี่เลี้ยงตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นกระบวนการอบรม ซึ่งรวมทั้งหมดประมาณ 7 วงรอบ คณาจารย์ที่ร่วมทีมงานดังกล่าวมีข้อสรุปสาระสำคัญขององค์ความรู้เกี่ยวกับการผลิตผลงานวิจัยและการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยให้กับบุคลากรทางสาธารณสุข ดังนี้ Related Posts by Tagsรายงานการประชุมของ CoP การดูแลผู้ป่วยวิกฤติและเรื้อรังภาควิชาการพยาบาลเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ สรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาคน พัฒนางาน เสริมสร้างค่านิยมองค์กร ณ ประเทศสิงคโปร์ โดยเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน งานสนาม ยาม คนขับรถและงานประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี กลยุทธ์ในการพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในงานส่งเสริมสุขภาพจิต Up date [...]

Tags: , , , , , ,

การสะท้อนการจัดการเรียนการสอน วิชา พย.1320 ปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต

โครงการวิจัยในชั้นเรียน ชื่อเรื่องวิจัย การสะท้อนการจัดการเรียนการสอน วิชา พย.1320 ปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต ผุ้รับผิดชอบ อาจารย์อรัญญา บุญธรรม ความเป็นมาและความสำคัญ จากประสบการณ์ที่ผ่านมาพบว่า นักศึกษาให้ข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับการเรียนรู้ในวิชาการพยาบาลจิตเวชว่า ลักษณะเนื้อหาวิชาเป็นนามธรรม เข้าใจยาก การเรียนภาคทฤษฎียังไม่สามรถทำให้นักศึกษาเข้าใจในบทเรียนได้ดี แต่เมื่อได้ผ่านการฝึกภาคปฏิบัติ ทำให้นักศึกษามีความเข้าใจในเนื้อหาวิชามาก  ผู้วิจัยจึงต้องการศึกษารายละเอียดในกระบวนการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติในวิชา พย.1320 ปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต ว่าแต่ละขั้นคอนที่ทำมาแล้วนั้น ตามการรับรู้ของผู้เรียนมีความเหมาะสม และ มีผลต่อการเรียนรู้ของนักศึกษามากน้อยเพียงใด ทั้งนี้เพื่อนำไปใช้พัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติในปีการศึกษาต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนต่อกระบวนการจัดการเรียนการสอนในวิชา พย.1320 ปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาปี 4 ข ที่จบการฝึกภาคปฏิบัติวิชา พย.1320 ปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต ปีการศึกษา 2553 จำนวน 135 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถามความคิดเห็นการจัดการเรียนการสอนวิชา พย.1320 ปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปSPSS(ใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่นงเบนมาตรฐาน และร้อยละ) งบประมาณที่ใช้ในการทำวิจัย ไม่มี วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล อธิบายให้นักศึกษาเข้าใจวัตถุประสงค์ของการเก็บข้อมูล ความปลอดภัยในการให้ข้อมูล [...]

Tags: , , , , , , ,