ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำเร็จของการจัดโครงการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน

สรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากคณาจารย์ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี เรื่อง “ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำเร็จของการจัดโครงการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน” ผู้เขียน  อ.โศภิณสิริ   ยุทธวิสุทธิ ผู้บันทึกการเรียนรู้   อ.มงคล  ส่องสว่างธรรม วันที่ประชุม  4 กันยายน 2555 อาจารย์ผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. อ.วราภรณ์   จรเจริญ 2. อ.อรัญญา     บุญธรรม 3. ดร.เชษฐา      แก้วพรม 4. ดร.ศรีสกุล     เฉียบแหลม 5. อ.ลลนา        ประทุม 6. อ.เพ็ญนภา     พิสัยพันธุ์ 7. อ.มงคล  ส่องสว่างธรรม ผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. การจัดทำโครงการใดๆนั้น ควรตั้งอยู่บนพื้นฐานของปัญหาที่พบ และทำการวิเคราะห์สภาพปัญหาแล้วจึงจัดทำหลักสูตรให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 2.  การดำเนินการนั้นควรอยู่ในเนื้องานของบุคคล  เพื่อการพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะการปฏิบัติในงานของตน และจะไม่รู้สึกว่าเสียเวลาในการมาอบรมเพราะสิ่งที่เขาได้คือการพัฒนางานของเขานั่นเอง 3. งานสุขภาพจิตชุมชนต้องอาศัยใจในการเยียวยา  ในการทำงานจึงต้องคำนึงถึงใจผู้ปฏิบัติงานให้มาก เมื่อใดเกิดความรู้สึกไม่เข้าใจกัน จะทำให้เกิดความท้อแท้และการปฏิบัติงานจะสะดุดก้าวต่อไปได้ยากหรืออาจจะล้มได้เลย ถึงแม้ปัญหาที่เกิดขึ้นอาจจะเกิดกับบุคคลเพียงแค่คนเดียว แต่ควรคำนึงว่าทุกคนคือน๊อตตัวสำคัญ ขาดคนหนึ่งคนใดงานจะไม่ประสบผลสำเร็จ  การให้กำลังใจ [...]

Tags: , , ,

รวมพลังสามัคคี ทำดีเพื่อแผ่นดิน

สรุปผล  การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากคณาจารย์ประจำภาควิชา, งานพัฒนาบุคลากร วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี เรื่อง  รวมพลังสามัคคี ทำดีเพื่อแผ่นดิน จัดโดย 1. คณะกรรมการดำเนินการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กระทรวงสาธารณสุข 2. แก้วกัลยาสิกขาลัย สถาบันพระบรมราชชนก สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 3.  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 4. สมาคมศิษย์เก่าพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 5. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี 6. วิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่ทำหน้าที่จัดประชุมสัมมนาพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ระดับเขต ผู้เขียน  อาจารย์วราภรณ์  จรเจริญ ผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อาจารย์พัทธยา  เกิดกุล, อาจารย์จารุณี ตฤณมัยทิพย์, อาจารย์ปาลีรัญญ์ ฐาสิรสวัสดิ์, อาจารย์ศรีสกุล  เฉียบแหลม, อาจารย์คนึงนิตย์ พงษ์สิทธิถาวร, อาจารย์เพ็ญนภา พิสัยพันธุ์, อาจารย์โศภิณสิริ ยุทธวิสุทธิ, อาจารย์อรัญญา บุญธรรม, อาจารย์เชษฐา แก้วพรม, อาจารย์มงคล ส่องสว่างธรรม, อาจารย์ลลนา ประทุม, อาจารย์จันทรมาศ เสาวรส, อาจารย์จันทร์เพ็ญ อามพัฒน์, อาจารย์วารุณี สุวรวัฒนกุล, อาจารย์ยศพล เหลืองโสมนภา, อาจารย์ลลิตา เดชาวุธ [...]

Tags: , , , ,

Up date การวัดความดันโลหิต

ประธาน อ. อรัญญา บุญธรรม ผู้บันทึกการเรียนรู้ อ. ลลนา ประทุม อาจารย์ผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. อ.วราภรณ์ จรเจริญ 2. อ.โศภิณสิริ ยุทธวิสุทธิ 3. ดร.เชษฐา แก้วพรม 4. อ. มงคล ส่องสว่างธรรม 5. ดร. ศรีสกุล เฉียบแหลม           จากการเตรียมการสอนภาคทดลองวิชาแนวคิดพื้นฐานและหลักการพยาบาล ฐาน การตรวจสอบสัญญาณชีพ โดยการรวบรวมความรู้จากแหล่งต่างๆพบมีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องการวัดความดันโลหิตในบางขั้นตอน กล่าวคือ แต่เดิมในการพัน Cuff นั้นจะต้องให้สายยางของเครื่องวัดความดันทั้ง 2 สายคร่อมบริเวณ Bracial Pulse ซึ่งในตำราก็ไม่ได้ระบุเหตุผลว่าเพราะเหตุใด แต่จากการรวบรวมเอกสารเรื่องการวัดความดันโลหิตพบว่าตำราใหม่ๆทั้งตำราภาษาไทย และ Text book ใช้วิธีพัน Cuff โดยให้กึ่งกลางของ Bladder (ถุงลม) ทับบริเวณ Bracial Pulse ซึ่งการพัน Cuff ด้วยวิธีใหม่นี้จะทำให้ส่วนกลางของถุงลมซึ่งจะขยายตัวก่อนบริเวณอื่นเกิดแรงกดมากที่สุดซึ่งกั้นเลือดได้เร็วขึ้นโดยไม้ต้องบีบลมจนเต็ม Cuff [...]

Tags: , , ,

ความสำคัญของการสะท้อนคิด

ความสำคัญของการสะท้อนคิด         การใช้การสะท้อนคิดในการศึกษาพยาบาล และการปฏิบัติการพยาบาล มีบทบาทสำคัญในการทำให้นักศึกษาพยาบาลเรียนรู้และถูกกระตุ้นท้าทายให้ “คิดแบบพยาบาล” (think like a nurse) ไม่ใช่แต่เพียงการท่องจำความรู้ที่ถ่ายทอดจากความจำและริมปากของครูผู้สอน เพื่อนำเอาไปสอบเท่านั้น ช่วยให้การเรียนพยาบาล และการปฏิบัติเกิดความหมาย (meaningful) และเมื่อการกระทำต่างๆ การเรียนรู้มีความหมายขึ้นในจิตใจแล้ว การเรียนรู้และการคงอยู่ในวิชาชีพก็สูงขึ้นด้วย การสะท้อนคิดเป็นตัวกลางสำคัญในการเชื่อมความรู้เข้ากับการปฏิบัติอย่างมีความหมายที่แท้จริง ช่วยให้เกิดการทบทวนความรู้จากประสบการณ์ (experiential knowledge) และช่วยให้เกิดการสั่งสมความรู้ในตัวบุคคล (tacit knowledge) การใช้การสะท้อนคิดมาบูรณาการในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนพยาบาล และพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาล จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญและไม่ควรมองข้าม การสะท้อนคิดได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวาง และได้รับการยอมรับว่าทำให้การเรียนการสอน และการปฏิบัติการพยาบาลเกิดความหมายขึ้นในจิตใจของผู้เรียนและของพยาบาล (make sense of the experience) ทำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมอย่างตื่นตัว พัฒนาตัวเองเป็นพยาบาลที่ดีได้อย่างชัดเจน และทำให้พยาบาลลาออกหรือทิ้งงานการพยาบาลน้อยลง มีการให้พยาบาลด้วยหัวใจมากขึ้น เป้าหมายของการศึกษาคือ ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างแท้จริง (transformative education) Related Posts by Tagsกลยุทธ์การสร้างทักษะในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สู่การเรียนการสอน ครั้งที่ 4 กลยุทธ์การสร้างทักษะในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สู่การเรียนการสอน ครั้งที่ 3 การแลกเปลี่ยนเรียนรุ้ “Paliative care’ [...]

Tags: , , , ,

สรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน กลุ่ม งานห้องสมุด / ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

สรุปผล การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาตน พัฒนางาน สร้างเสริมค่านิยมองค์กร ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน กลุ่ม งานห้องสมุด / ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้เขียน อ.เพ็ญนภา พิสัยพันธุ์ ผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นางสาววิภา          สุขสำราญ นางสาววิภา          ขันทองดี นางจิรพรรณ         จูเทพ นางสาวสุดาทิพย์   บัวแย้ม นางอำนวย            ไกรนิวรณ์ นางสมทรง            ทำสวน นางสาวฒาลิศา      เอื้อนจิตร นางพรศตภัทร์       ชาวสวน นางสาวพีรตา         พุ่มคำ นางสาวผกามาศ     คณะเบญจะ นางสาวนาตยา       ญาณประดับ นางสาวสอยดาว     ปัญจะการ   สรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Related Posts by Tagsสรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาคน พัฒนางาน เสริมสร้างค่านิยมองค์กร ณ ประเทศสิงคโปร์ โดยเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน งานสนาม ยาม คนขับรถและงานประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ผู้บริหารการศึกษาพยาบาลกับการจัดการหลักสูตรการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ [...]

Tags: , ,