ผู้เขียน : อ.ภโวทัย พาสนาโสภณ
10/24/11
รายงานผลการประชุมการจัดการความรู้ เรื่อง วิธีการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.2554 เวลา 11.00 – 12.00 น. ณ ภาควิชาพื้นฐานการพยาบาลและบริหารวิชาชีพ อ.โสภา ลี้ศิริวัฒนกุล ประธานการประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม ดร.ศรีสกุล เฉียบแหลม ผู้นำเสนอการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อ.พุฒตาล มีสรรพวงศ์ อ.สุมาลี ราชนิยม อ.รัชชนก สิทธิเวช อ.จิตติยา สมบัติบูรณ์ อ.นิศารัตน์ รวมวงษ์ อ.จีราภา ศรีท่าไฮ อ.วิภารัตน์ ภิบาลวงษ์ อ.ศราวุธ อยู่เกษม อ.บุษยารัตน์ ลอยศักดิ์ อ.นครินทร์ สุวรรณแสง อ.ภโวทัย พาสนาโสภณ เลขาการประชุม เริ่มประชุมเวลา 11.00 น. วาระที่ 1 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง วิธีการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จากการศึกษาดูงานที่ Leciester [...]
Tags: ภาควิชาพื้นฐานการพยาบาลและบริหารวิชาชีพ, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า, เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ผู้เขียน : อ.ภโวทัย พาสนาโสภณ
10/24/11
รายงานผลการประชุมการจัดการความรู้ เรื่อง ภาวะผู้นำ (Leadership) วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.2554 เวลา 9.00 – 11.00 น. ณ ภาควิชาพื้นฐานการพยาบาลและบริหารวิชาชีพ อ.โสภา ลี้ศิริวัฒนกุล ประธานการประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม ดร.ศรีสกุล เฉียบแหลม ผู้นำเสนอการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อ.พุฒตาล มีสรรพวงศ์ อ.สุมาลี ราชนิยม อ.รัชชนก สิทธิเวช อ.จิตติยา สมบัติบูรณ์ อ.นิศารัตน์ รวมวงษ์ อ.จีราภา ศรีท่าไฮ อ.วิภารัตน์ ภิบาลวงษ์ อ.ศราวุธ อยู่เกษม อ.บุษยารัตน์ ลอยศักดิ์ อ.นครินทร์ สุวรรณแสง อ.ภโวทัย พาสนาโสภณ เลขาการประชุม เริ่มประชุมเวลา 9.00 น. วาระที่ 1 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง ภาวะผู้นำ (Leadership) ความแตกต่างระหว่างภาวะผู้นำกับผู้บริหาร [...]
Tags: leadership, ภาควิชาพื้นฐานการพยาบาลและบริหารวิชาชีพ, ภาวะผู้นำ, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า
ผู้เขียน : อ.จันทร์เพ็ญ อามพัฒน์
10/20/11
สรุปความรู้ที่ได้รับจากการไปพัฒนาตนเอง วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ชื่อ-สกุล นางจันทร์เพ็ญ อามพัฒน์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ สังกัดภาควิชา การพยาบาลสูติศาสตร์ เข้าร่วมประชุมเรื่อง Prevention Preadiction and Promotion in Perination Health วันเดือนปี 12 – 14 ตุลาคม 2554 หน่วยงานที่จัด สมาคมเวชศาสตร์ปริกำเนิดแห่งประเทศไทย สถานที่ โรงแรมจอมเทียนปาล์มบีช โฮเต็ล แอนด์ รีสอร์ท จ. ชลบุรี สรุปความรู้และแนวคิดที่ได้รับคือ Workshop การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การศึกษากายวิภาคศาสตร์ของเต้านมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยการทำ Ultrasound imaging พบว่า กายวิภาคศาสตร์ของเต้านมที่ใช้มานานกว่า 150 ปีไม่ถูกต้อง สิ่งที่พบใหม่คือ ท่อน้ำนมมีเพียง 4-18 ท่อ และอยู่ใต้บริเวณลานหัวนม ไม่มีกระเปาะของท่อน้ำนม แต่เป็นเพียงการบางออกชั่วคราวของท่อน้ำนมเมื่อมีน้ำนมหลั่งจากฮอร์โมนออกซิโตซิน และแฟบเมื่อน้ำนมไหลออกทางหัวนม ดังนั้นทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของคำแนะนำและการปฏิบัติเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่หลายอย่าง คือ [...]
Tags: การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่, ภาควิชาสูติศาสตร์, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า, เต้านม
ผู้เขียน : อ.เพ็ญนภา พิสัยพันธุ์
10/20/11
สรุปความรู้ที่ได้รับจากการไปพัฒนาตนเอง วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ………………………………………………… ชื่อ-สกุล นางสาวเพ็ญนภา พิสัยพันธุ์ ตำแหน่ง พยาบาวิชาชีพชำนาญการพิเศษ สังกัดภาควิชา/งาน การพยาบาลสูติศาสตร์ เข้าร่วมการประชุม/อบรม/สัมมนา เรื่อง การประชุมวิชาการประจำปี 2554 ครั้งที่ 21 (Prevention,Prediction and Promotion in Perinatal Health) วัน/เดือน/ปี 12-14 ตุลาคม 2554 หน่วยงานที่จัด ชมรมเวชศาสตร์ปริกำเนิด สถานที่ โรงแรมจอมเทียนปาล์มบีช พัทยา สรุปความรู้และแนวคิดที่ได้รับ คือ เรื่องสัญญาณเตือนภัยในมารดาขณะตั้งครรภ์ ที่พบบ่อย ได้แก่ - ทารกดิ้นน้อย พบว่ามารดาจำนวนร้อยละ 55 รับรู้ถึงการดิ้นน้อยลงก่อนทารกเสียชีวิต การดิ้นของทารกได้แก่ การหมุนตัว การโก่ง การถีบ การเตะ ส่วนการสะอึกไม่ถือเป็นการดิ้น โดยเริ่มดิ้นเมื่ออายุครรภ์ 18-20 สัปดาห์ และดิ้นมากขึ้นเรื่อยๆจนสูงสุดเมื่อ [...]
Tags: ประชุมวิชาการ 2554, ภาควิชาสูติศาสตร์, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า
ผู้เขียน : อ.จันทร์เพ็ญ อามพัฒน์
10/20/11
สรุปความรู้ที่ได้รับจากการไปพัฒนาตนเอง วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ชื่อ-สกุล นางจันทร์เพ็ญ อามพัฒน์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ สังกัดภาควิชา การพยาบาลสูติศาสตร์ เข้าร่วมประชุมเรื่อง Advanced course in breastfeeding : common problems in breastfed infants วันเดือนปี 2 – 5 ตุลาคม 2554 หน่วยงานที่จัด ชมรมเวชศาสตร์ทารกแรกเกิดแห่งประเทศไทย สถานที่ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ สรุปความรู้และแนวคิดที่ได้รับคือ การให้นมแม่อย่างเดียวในระยะ 2-3 วันแรกหลังคลอด มีความสัมพันธ์กับการเกิด breastfeeding jaundice จากการได้รับน้ำนมไม่พอ American Academy of Pediatrics (AAP) และองค์การอนามัยจึงแนะนำว่าเพื่อกระตุ้นการสร้างน้ำนมแม่และเพื่อให้ทารกได้น้ำนมเพียงพอ ควรให้ทารกดูดนมแม่โดยเร็วภายใน 1 ชั่วโมงหลังเกิด และดูดนมแม่ 8-12 มื้อต่อวัน [...]
Tags: breastfeeding jaundice, นมแม่, ภาควิชาสูติศาสตร์, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า