ผู้เขียน : อ.จันทรมาศ เสาวรส
05/25/12
ผู้บันทึกข้อมูล อ.จันทรมาศ เสาวรส อาจารย์ผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. อ.ขนิษฐา เมฆกมล 2. อ.อารีรัตน์ วิเชียรประภา 3. อ.จรัญญา ดีจะโปะ 4. อ.นริชชญา หาดแก้ว 5. อ.จารุวรรณ์ ท่าม่วง 1. วิธีการต่างๆ ในการสร้างความสนใจหรือกระตุ้นนักศึกษาก่อนและระหว่างการสอนเนื้อหาวิชา มีดังนี้ - คณาจารย์ในทีมติวแสวงหารูปแบบวิธีการติว เพื่อให้นักศึกษาได้ผ่อนคลายแล้วไม่เครียด โดยหากิจกรรมและเรื่องเล่าที่สนุกสนานมานำก่อนการติวและระหว่างการติว – ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเล่นเกมส์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่ติวและมีรางวัลเล็กๆน้อยๆ 2. วิธีการและเทคนิคการสอนที่ช่วยให้นักศึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจ หรือจดจำเนื้อหาวิชาได้ มากขึ้น มีดังนี้ - เรียนเชิญวิทยากรจากวพบ.สระบุรี มาช่วยติว concept หลักๆ ให้กับนศ. เพื่อเป็นการกระตุ้นนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษาได้ทราบถึงการเตรียมความพร้อมของเพื่อนนักศึกษาในสถาบันอื่น ทำให้นักศึกษาไม่เบื่อหน่ายและมีโลกทัศน์กว้างขึ้น รวมทั้งได้เรียนรู้เทคนิคการทำข้อสอบจากอาจารย์ที่หลากหลาย - แบ่งกลุ่มให้นักศึกษาเฉลยและอธิบายข้อสอบ โดยให้คะแนนแต่ละกลุ่ม และมีรางวัลให้เพื่อเป็นแรงจูงใจ – นักศึกษาและผู้สอนค้นหาความรู้ใหม่ๆร่วมกัน โดยการsearch จาก Internet ซึ่งมีภาพประกอบหรือเป็นสื่อวิดิทัศน์ที่สวยงาม [...]
Tags: การผดุงครรภ์, การเตรียมนักศึกษา, ฝ่ายวิชาการ, ภาควิชาสูติศาสตร์, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ผู้เขียน : อ.เพ็ญนภา พิสัยพันธุ์
04/11/12
การคุมกำเนิดในวัยรุ่น Contraception in the Aldolescent จากการประชุม Empowering Woman : Challenge โดยสมาคมอนามัยเจริญพันธุ์ แห่งประเทศไทย วันที่ 4-5 เมษายน 2555 ณ โรงแรมมณเฑียร พัทยา ชื่อ-สกุลผู้จัดการความรู้ อ. เพ็ญนภา พิสัยพันธุ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ สังกัดภาควิชา การพยาบาลสูติศาสตร์ วันที่ประชุมจัดการความรู้ 11 เมษายน 2555 เวลา 15.00-16.00 น. สถานที่ประชุม ภาควิชา การพยาบาลสูติศาสตร์ รายชื่ออาจารย์ที่ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. อ. ธนพร ศนีบุตร 2. อ. ทิพวรรณ ลิ้มประไพพงษ์ 3. อ. จันทรมาศ เสาวรส 4. อ. จันทร์เพ็ญ อามพัฒน์ 5. [...]
Tags: การคุมกำเนิด, ภาควิชาสูติศาสตร์, วัยรุ่น, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า
ผู้เขียน : อ.จันทร์เพ็ญ อามพัฒน์
10/20/11
สรุปความรู้ที่ได้รับจากการไปพัฒนาตนเอง วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ชื่อ-สกุล นางจันทร์เพ็ญ อามพัฒน์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ สังกัดภาควิชา การพยาบาลสูติศาสตร์ เข้าร่วมประชุมเรื่อง Prevention Preadiction and Promotion in Perination Health วันเดือนปี 12 – 14 ตุลาคม 2554 หน่วยงานที่จัด สมาคมเวชศาสตร์ปริกำเนิดแห่งประเทศไทย สถานที่ โรงแรมจอมเทียนปาล์มบีช โฮเต็ล แอนด์ รีสอร์ท จ. ชลบุรี สรุปความรู้และแนวคิดที่ได้รับคือ Workshop การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การศึกษากายวิภาคศาสตร์ของเต้านมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยการทำ Ultrasound imaging พบว่า กายวิภาคศาสตร์ของเต้านมที่ใช้มานานกว่า 150 ปีไม่ถูกต้อง สิ่งที่พบใหม่คือ ท่อน้ำนมมีเพียง 4-18 ท่อ และอยู่ใต้บริเวณลานหัวนม ไม่มีกระเปาะของท่อน้ำนม แต่เป็นเพียงการบางออกชั่วคราวของท่อน้ำนมเมื่อมีน้ำนมหลั่งจากฮอร์โมนออกซิโตซิน และแฟบเมื่อน้ำนมไหลออกทางหัวนม ดังนั้นทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของคำแนะนำและการปฏิบัติเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่หลายอย่าง คือ [...]
Tags: การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่, ภาควิชาสูติศาสตร์, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า, เต้านม
ผู้เขียน : อ.เพ็ญนภา พิสัยพันธุ์
10/20/11
สรุปความรู้ที่ได้รับจากการไปพัฒนาตนเอง วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ………………………………………………… ชื่อ-สกุล นางสาวเพ็ญนภา พิสัยพันธุ์ ตำแหน่ง พยาบาวิชาชีพชำนาญการพิเศษ สังกัดภาควิชา/งาน การพยาบาลสูติศาสตร์ เข้าร่วมการประชุม/อบรม/สัมมนา เรื่อง การประชุมวิชาการประจำปี 2554 ครั้งที่ 21 (Prevention,Prediction and Promotion in Perinatal Health) วัน/เดือน/ปี 12-14 ตุลาคม 2554 หน่วยงานที่จัด ชมรมเวชศาสตร์ปริกำเนิด สถานที่ โรงแรมจอมเทียนปาล์มบีช พัทยา สรุปความรู้และแนวคิดที่ได้รับ คือ เรื่องสัญญาณเตือนภัยในมารดาขณะตั้งครรภ์ ที่พบบ่อย ได้แก่ - ทารกดิ้นน้อย พบว่ามารดาจำนวนร้อยละ 55 รับรู้ถึงการดิ้นน้อยลงก่อนทารกเสียชีวิต การดิ้นของทารกได้แก่ การหมุนตัว การโก่ง การถีบ การเตะ ส่วนการสะอึกไม่ถือเป็นการดิ้น โดยเริ่มดิ้นเมื่ออายุครรภ์ 18-20 สัปดาห์ และดิ้นมากขึ้นเรื่อยๆจนสูงสุดเมื่อ [...]
Tags: ประชุมวิชาการ 2554, ภาควิชาสูติศาสตร์, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า
ผู้เขียน : อ.จันทร์เพ็ญ อามพัฒน์
10/20/11
สรุปความรู้ที่ได้รับจากการไปพัฒนาตนเอง วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ชื่อ-สกุล นางจันทร์เพ็ญ อามพัฒน์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ สังกัดภาควิชา การพยาบาลสูติศาสตร์ เข้าร่วมประชุมเรื่อง Advanced course in breastfeeding : common problems in breastfed infants วันเดือนปี 2 – 5 ตุลาคม 2554 หน่วยงานที่จัด ชมรมเวชศาสตร์ทารกแรกเกิดแห่งประเทศไทย สถานที่ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ สรุปความรู้และแนวคิดที่ได้รับคือ การให้นมแม่อย่างเดียวในระยะ 2-3 วันแรกหลังคลอด มีความสัมพันธ์กับการเกิด breastfeeding jaundice จากการได้รับน้ำนมไม่พอ American Academy of Pediatrics (AAP) และองค์การอนามัยจึงแนะนำว่าเพื่อกระตุ้นการสร้างน้ำนมแม่และเพื่อให้ทารกได้น้ำนมเพียงพอ ควรให้ทารกดูดนมแม่โดยเร็วภายใน 1 ชั่วโมงหลังเกิด และดูดนมแม่ 8-12 มื้อต่อวัน [...]
Tags: breastfeeding jaundice, นมแม่, ภาควิชาสูติศาสตร์, วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า