ความก้าวหน้าในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ความก้าวหน้าในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ดร.ศรีสกุล  เฉียบแหลม

การจัดการความรู้วันที่ 29  ตุลาคม  2555     ผู้ร่วมประชุม  ได้แก่

1. นางวราภรณ์      จรเจริญ

2. นางวารุณี         สุวรวัฒนกุล

3. นางสาวสายใจ    จารุจิตร

สาระที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการประจำปี  2555 ณ โรงพยาบาลสระบุรี (วันที่ 8 -10 สิงหาคม 2555)

 

  • โรคเรื้อรัง หมายถึงอะไร

โรคที่เป็นมาตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือโดยกำเนิด เป็นโรคที่ไม่ติดต่อหรือโรคติดต่อ  ซึ่งต้องการดูแล

ระยะยาวอย่างเป็นระบบ อาจมีโอกาสหายกลับสู่ภาวะปกติได้

  • โรคเรื้อรัง  ได้แก่โรคอะไรบ้าง

- Stoke  ( เสียชีวิตอันดับ 1)

- Hypertersion

- CA

- Chronic  Respiratory Disease

- DM.

- Mental disorders

- Oral disease

- Bone &Joint

- Genetic disorders

โรคเรื้อรังที่พบมากที่สุดในประเทศไทย  ได้แก่  HT  DM   CA   Chr. respiratory  และ Renal failure ตามลำดับ

  •  ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง   ได้แก่  บุคคลที่สูบบุหรี่   ดื่มสุรา   ไม่ออกกำลัง

การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม

 

การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในมิติจิตวิญญาณ  (Spirituality)   คือ   การดูแลตั้งแต่ป่วยเรื้อรังจนกระทั่งเสียชีวิต

แนวคิดการดูแล  คือ   ทำอย่างไรจึงจะให้ผู้ป่วยตายอย่างสงบ  ไม่ทรมาน

Dealth & Dying is involved

- human right and ethics

- belief and religious practice

- Love and connectedness

- loss and separation

 

การเยียวยาผู้ป่วยให้มีความหวังอย่างมีประสิทธิภาพ  (Healing in chronic patient)

การเยียวยาผู้ป่วยให้มีความหวังอย่างมีประสิทธิภาพ  (Healing in chronic patient)

 

การดูแลผู้ป่วยเรื้อรังแบบองค์รวม  ต้องอาศัยองค์ประกอบ 3 ส่วน  ได้แก่

1.  ปัญญา    แยกแยะความดี – ชั่วได้

2.  ความเมตตา   สื่อสารกับผู้ป่วยด้วยความเมตตา  กรุณา  ด้วยความเข้าใจและเห็นใจ

3.  ความเอื้ออาทร  สื่อสารทาง  eye contract  and  body language

สรุป

การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (Chronic  Illness) ควรเน้นการดูแลแบบเกาะติด  คือ ต้องทำอย่างต่อเนื่องไม่ใช่ตามกระแส  มีความเด็ดขาดและตรงเป้าในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

Print Friendly
ผู้เขียน ดร.ศรีสกุล เฉียบแหลม (ประวัติการเขียน 4 เรื่อง)

อาจารย์พยาบาลสังกัด ภาควิชาพื้นฐานการพยาบาล และบริหารวิชาชีพ


Tags: , ,

One Response to “ความก้าวหน้าในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง”

  1. ยศพล เหลืองโสมนภา พูดว่า:

    เสริมความรู้เรื่องการดูแลโรคความดันโลหิตสูงครับ ตอนนี้มีแนวทางการดูแลจากหลายค่าย ทั้งอเมริกา อังกฤษ แค่นาดา รวมถึงไทยเองก็พยายามพัฒนาแนวทางที่ล้อตามของต่างประทศแต่ให้เหมาสมกับไทย ดังนั้นเวลาให้การดูแลผู้ป่วยเหล่านี้จึงต้องพิจารณาแนวทางเหล่านั้นด้วยครับ (เช่นการให้ยาแบบผสม) ทั้งนี้แนวทางของอเมริกาหรือ JNC 8 กำลังจะออกมา คงต้องมีการติดตามความรู้ให้ทันสมัย