การพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและการผลิตผลงานวิชาการของอาจารย์

วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า  จันทบุรี

รายงานการประชุม COP ฝ่ายวิจัยและการจัดการความรู้

ครั้งที่ 2 วันที่  28 พฤษภาคม 2557  เวลา 9.00 – 11.00 น.

ณ ห้องประชุมกลุ่ม 1  อาคารอำนวยการชั้น 1 วพ.พระปกเกล้า  จันทบุรี

 

1. เรื่อง  การพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและการผลิตผลงานวิชาการของอาจารย์

2. วัตถุประสงค์ในการดำเนินการครั้งนี้

2.1   เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการในการส่งเสริมการผลิตงานวิจัยและการผลิต ผลงานวิชาการของอาจารย์อย่างเป็นรูปธรรม

2.2   เพื่อหาแนวทางเพิ่มจำนวนการตีพิมพ์ผลงานวิจัย และผลงานวิชาการของอาจารย์

3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  7  คน  ได้แก่

  1. ดร.พรฤดี              นิธิรัตน์            ประธานกลุ่ม
  2. อ. สุมาลี               ราชนิยม         สมาชิก
  3. อ. ธัสมน              นามวงษ์          สมาชิก
  4. อ. คณิสร              แก้วแดง         สมาชิก
  5. อ. จารุณี              ขาวแจ้ง           สมาชิก
  6. อ. วรรณศิริ           ประจันโน       สมาชิก
  7. อ. จารุวรรณ์          ท่าม่วง           สมาชิก
  8. อ. รัชชนก             สิทธิเวช         เลขานุการ

กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ [...]

Tags: , ,

การสอนแนะ (coaching) ภาควิชาบริหารและพื้นฐานการพยาบาล ครั้งที่ 4

วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า  จันทบุรี

รายงานการประชุม COP ภาควิชาบริหารและพื้นฐานการพยาบาล

ครั้งที่ 4 วันที่  21 พฤษภาคม  2557  เวลา 11.00 – 12.00 น.

ณ ห้องประชุมกลุ่ม 1 อาคารอำนวยการชั้น 1  วพ.พระปกเกล้า  จันทบุรี

 

  1. เรื่อง  การสอนแนะ (coaching)
  2. วัตถุประสงค์ในการดำเนินการครั้งนี้  เพื่อให้ได้แนวทางในการนำการสอนแนะไปใช้ในการสอนภาคปฏิบัติ
  3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  13  คน  ได้แก่
    1. อ. จิตติยา             สมบัติบูรณ์       ประธานกลุ่ม
    2. อ. โสภา               ลี้ศิริวัฒนกุล      สมาชิก
    3. อ. พุฒตาล            มีสรรพวงศ์       สมาชิก
    4. อ. ภโวทัย             พาสนาโสภณ     สมาชิก
    5. อ. สุมาลี               ราชนิยม                    สมาชิก
    6. อ. ธัสมน              นามวงษ์           สมาชิก
    7. อ. คณิสร              แก้วแดง          สมาชิก
    8. อ. นิศารัตน์           รวมวงษ์          สมาชิก
    9. อ. จีราภา             ศรีท่าไฮ          สมาชิก
    10. อ. วิภารัตน์           ภิบาลวงษ์        สมาชิก
    11. อ. บุษยารัตน์         ลอยศักดิ์          สมาชิก
    12. อ. จันจิรา             หินขาว           สมาชิก
    13. อ. รัชชนก            สิทธิเวช           เลขานุการ


กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ [...]

Tags: , ,

รายงานการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การศึกษาดูงานโรงงานคัดแยกขยะ และการนำมาประยุกต์ใช้ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗

วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า  จันทบุรี

รายงานการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การศึกษาดูงานโรงงานคัดแยกขยะ และการนำมาประยุกต์ใช้

ครั้งที่  ๑/๒๕๕๗ วันที่  ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗  เวลา  ๑๓.๓๐-๑๕.๐๐ น.

ณ  ห้องประชุมอาคารอเนกประสงค์  วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า  จันทบุรี

 

เรื่อง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะและการนำมาประยุกต์ใช้

วัตถุประสงค์ในการดำเนินการครั้งนี้

  1. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านความรู้และประสบการณ์ในการบริหารจัดการขยะ
  2. เพื่อนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้

 

ประธานการประชุม  นางโสภา ลี้ศิริวัฒนกุล  รองผู้อำนวยการฝ่ายอำนวยการ

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน ๓๑ คน ได้แก่

 

๑.  นางโสภา   ลี้ศิริวัฒนกุล ๒.  นางสาวเพ็ญนภา  พิสัยพันธุ์
๓.  นางสาวพุฒตาล  มีสรรพวงศ์ ๔.  นางสาวจีราภา  ศรีท่าไฮ
๕.  นายภโวทัย  พาสนาโสภณ ๖.  นางวิภารัตน์  ภิบาลวงษ์
๗.  นางสาวสายใจ  จารุจิตร ๘.  นางสาวบุษยารัตน์  ลอยศักดิ์
๙.  นางฉัยยา ทองมา ๑๐.  นางสาวชาภณัฏฐ์ญา ฌาสิตภูมิศิลชิต
๑๑.  นายบุญสม โพธิ ๑๒.  นายบุญจันทร์ ทาโพทอง
๑๓.  นายจักรพันธ์ อินบำรุง ๑๔.  นางสุวิรัตน์ วิชัยวงษ์
๑๕.  นางนารี มาศรี ๑๖.  นางผึ่ง ขำพุ่ม
๑๗.  นางเรียม ปานสวรรค์ ๑๘.  นางลออ ชมพูสว่าง
๑๙.  นางสมพร คำหมู่ ๒๐.  นางจิรพรรณ จูเทพ
๒๑.  นางพะยอม รุ่งโรจน์ ๒๒.  นางสาวภัทราภรณ์ วัฒนะ
๒๓.  นายศุภกิจ เฉลิมกิตติชัย ๒๔.  นายปิยบุตร อมรสิทธิวงศ์
๒๕.  นายปิยวัฒน์ ดีวงค์ ๒๖.  นางสาวอนุรักษ์ เพ็ชรรัตน์
๒๗.  นางสาวสุวิมล รัตนบุญส่ง ๒๘.  นายประดิษฐ์ สาคะเรศ
๒๙.  นางสาวอัญชลินทร์ สุขเนตร ๓๐.  นางสาวสุนิสา เล่งซง
๓๑.  นางสาวศิริพร สุขมหันต์


กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ประเด็นสำคัญ

ประเด็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

๑. ประเด็นที่น่าสนใจ ที่พบในโรงแยกขยะวงษ์พานิช ๑. ประเภท/ชนิด ของการแยกขยะ โดยมีการแยกขยะเป็นประเภท/ชนิด ต่าง ๆ ดังนี้๑.๑ ขยะรีไซเคิล เช่น ถุง/ขวดพลาสติก กล่องนม ถุงขนม กระดาษต่าง ๆ เป็นต้น๑.๒ ขยะย่อยสลายได้ เช่น เศษอาหารต่าง ๆ น้ำมันพืช เป็นต้น๑.๓ ขยะที่ย่อยสลายไม่ได้หรือย่อยสลายยาก เช่น โฟม เป็นต้น๑.๔ ขยะอันตราย เช่น ขยะติดเชื้อ สารเคมี ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ ของมีคม

ผ้าอนามัย เป็นต้น

๒. มีการกำจัดหรือควบคุมมลภาวะทางกลิ่นที่ดี

๓. มีการได้มูลค่าเพิ่มจากการแยกขยะประเภท/ชนิดต่าง ๆ

๔. มีการช่วยเหลือสังคม โดยการให้อาชีพแก่ผู้ด้อยโอกาส

๒. แนวทางการปฏิบัติเพื่อนำมาปรับใช้ในวิทยาลัยฯ ๑. ควรมีถังขยะและควรมีการแยกประเภท/ชนิดของขยะ ตามสถานที่ต่าง ๆ ของวิทยาลัย ดังนี้ ในห้องน้ำ หอพักนักศึกษา หอพักอาจารย์ บ้านพักเจ้าหน้าที่ อาคารเรียนทุกอาคาร และห้องพักครูทุกภาควิชา๒. ควรมีการประชาสัมพันธ์และรณรงค์เรื่องการแยกขยะ แก่คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษาทุกชั้นปี เพื่อให้เกิดการตระหนักรู้และร่วมมือกันในการแยกประเภท/ชนิดของขยะ๓. ควรมีการติดป้ายประชาสัมพันธ์เรื่องการแยกประเภท/ชนิดของขยะ เพื่อให้ทราบทั่วกัน๔. ควรมีธนาคารขยะ โดยมีตัวแทนจากเจ้าหน้าที่และนักศึกษา มาเป็นคณะกรรมการร่วมกันในการจัดตั้งธนาคารขยะ ซึ่งเป็นตัวแทนจากเจ้าหน้าที่อาคารละ ๑ คน และตัวแทนจากนักศึกษาห้องเรียนละ ๕ คน ทั้งนี้สถานที่ที่จะใช้ในการเก็บขยะ คือ บริเวณห้องสโม ช็อป ชั้นล่างของหอลูกกวาด ซึ่งขยะที่จะทำการแยกขยะและเก็บไว้ คือ กระดาษ และขวดพลาสติก

  [...]

Tags: ,

คู่มือสำหรับการทำโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อการป้องกันโรคเรื้อรัง

————————— เอกสารดาวน์โหลด —————————

 

คู่มือสำหรับการทำโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อการป้องกันโรคเรื้อรัง

 

——————————————————————————

Tags: , , , ,

การสื่อสารเรื่องเพศศึกษาระหว่างพ่อแม่กับลูกวัยรุ่นในครอบครัวจังหวัดจันทบุรี

รายงานการสังเคราะห์การวิจัย

เรื่อง “การสื่อสารเรื่องเพศศึกษาระหว่างพ่อแม่กับลูกวัยรุ่นในครอบครัวจังหวัดจันทบุรี”

โดย ดร.พรฤดี นิธิรัตน์

พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเด็กถือเป็นผู้มีความสำคัญอย่างยิ่งในการส่งเสริมให้เด็กมีความรู้และมีพัฒนาการทางเพศที่เหมาะสมตามวัย   การพูดคุยเรื่องเพศในครอบครัวจึงเป็นสิ่งจำเป็น  โดยเฉพาะในครอบครัวที่มีเด็กวัยรุ่นซึ่งเป็นวัยที่เสี่ยงต่อปัญหาพฤติกรรมและสุขภาพทางเพศ   ถึงแม้ว่ามุมมองในเรื่องเพศศึกษาจะเปิดกว้างขึ้นในสังคมไทย   แต่ก็ยังไม่มีข้อมูลแน่ชัดว่าพ่อแม่ในครอบครัวไทยพูดคุยเรื่องเพศกับลูกมากน้อยเพียงใด  และเรื่องเพศศึกษาที่สื่อสารส่วนใหญ่เป็นไปในแนวทางใด

รายงานนี้นำเสนอผลการสังเคราะห์การวิจัยเกี่ยวกับแนวคิด “การสื่อสารเรื่องเพศศึกษาระหว่างพ่อแม่กับลูกวัยรุ่นในครอบครัว จังหวัดจันทบุรี” ที่เกิดจากการศึกษาวิจัย 2 ชิ้น คือ

  1. เรื่อง สถานการณ์การสื่อสารเรื่องเพศระหว่างพ่อแม่กับลูกวัยรุ่นในครอบครัวไทย ศึกษาเมื่อปี 2551 โดยพรฤดี นิธิรัตน์ และ Allan Steckler  เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยเก็บข้อมูลจากนักเรียนชั้นมัธยมต้นและปลาย  และผู้ปกครอง  ที่อำเภอเมือง  จังหวัดจันทบุรี  จำนวน 56 คน โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก  14 ครั้ง  และการสนทนากลุ่มแบบเจาะจง 8 ครั้ง  วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
  2. เรื่อง การสื่อสารเรื่องเพศศึกษาของพ่อแม่กับลูกวัยรุ่นในครอบครัว  ศึกษาเมื่อปี 2554  โดย ราตรี อร่ามศิลป์ และวรรณศิริ ประจันโน  เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล  คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น  และผู้ปกครอง ที่ตำบลหนองตาคง อำเภอโป่งน้าร้อน จังหวัดจันทบุรี  จำนวน 46 คน  โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก  14  ครั้ง  และการสัมภาษณ์กลุ่ม 4 ครั้ง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา

ผลการสังเคราะห์การศึกษาทั้ง 2 เรื่อง พบประเด็นที่น่าสนใจ  สรุปได้ ดังนี้ [...]

Tags: , ,