การจัดการความรู้ เรื่อง แนวทางการติวสอบสภาฯ วิชาการพยาบาลผู้ใหญ่

แลกเปลี่ยนเรียนรู้การติวสอบสภา ของ ภาควิชาการพยาบาลเด็ก ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ในรายวิชา การพยาบาลผู้ใหญ่ ผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประกอบด้วย  1 . อาจารย์  สุชาดา   นิ้มวัฒนากุล   2.  อาจารย์รัชสุรีย์  จันทเพชร  3. อาจารย์ ดร.ศรีสุดา  งามขำ            4. อาจารย์ สุปราณี  ฉายวิจิตร  5.  อาจารย์ ยศพล  เหลืองโสมนภา  6. อาจารย์รุ่งนภา  เขียวชะอ่ำ และ 7. อาจารย์ นุชนาถ  ประกาศ ภายหลังจากทางภาควิชาได้รับนโยบายในการติวมาจากฝ่ายวิชาการ  โดยแบ่ง นักศึกษาเป็น 3 ห้องนั้น อาจารย์มีความเห็นว่า การแบ่งนักศึกษาให้เหลือจำนวนน้อยลง ดีกว่าการติวเป็นห้องใหญ่เนื่องจากจะได้ติวได้ทั่วถึงและนักศึกษาจะได้สอบถามข้อสงสัยได้สะดวกขึ้น และแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับวิธีการติวในประเด็นหลัก คือ 1. จะติวอย่างไรในเวลาที่ได้มา ให้ได้ประโยขน์แก่นักศึกษามากที่สุด   2.  การติวจะต้องคำนึงถึงพื้นฐานความรู้ของนักศึกษา  3. ติวโดยดูจากหัวข้อหลักที่จะทำการออกข้อสอบของสภา  4.  หาอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญและรับผิดชอบการติวในแต่ละหัวข้อ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจประเด็นหลัก  [...]

การพัฒนาชุมชนเข้มแข็งแบบยั่งยืนทางด้านสุขภาพ

ความรู้ที่ได้จากการร่วมประชุม ครอบครัวชุมชนเข้มแข็ง หลักการสำคัญ ในการจัดการสุขภาพในของชุมชน 1. ชุมชนต้องรู้ปัญหาของตนเอง 2. ต้องรู้ว้าตนเองมีต้นทุนอะไรบ้าง 3. จะนำทุนมาแก้ไขปัญหา 4. ต้องมีแกนนำที่แก้ปัญหาได้แล้วและทำเป็นแบบอย่าง 5. ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์แบบของชุมชน เป็นสิ่งพิสูจน์และทำให้เกิดการยอมรับ และทำตามในชุมชน 6. ใช้การสื่อสารสุขภาพในชุมชน เป็นตัวเชื่อม 7. กระบวนการการจัดการความรู้ของชาวบ้าน โดยส่งเสริมให้ชาวบ้านได้เรียนรู้ผลการดำเนินการแก้ปัญหาสุขภาพในชุมชน ใช้วิธีการแบบชาวบ้าน 8. บทบาทของท้องถิ่นสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นต้นแบบ และนำข้อมูลของชาวบ้านเข้าสู่ระบบการจัดการของท้องถิ่น และสนับสนุนงบประมาณ 9. ท้องถิ่นเป็นผู้สร้างกระแส และเป็นตัวเชื่อมกับภายนอก 10. ถ้าชุมชนใดมีผู้บริหาร อปท. เป็นโรคเรื้อรัง ต้องใช้โอกาสในการทำคนนี้มาเป็นแกนนำ 11. การให้ความสำคัญของเรื่อง Prevention and promotion ยังชัดเจน 12. ถ้าชุมชนยังไม่กินดีอยู่ดี คนจะไม่คิดถึงสุขภาพ **สอน นศ. ให้ Convince ให้คนเห็นว่า ถ้าเขาจัดการสุขภาพได้ เขาจะมีกิน ด้านการสื่อสารสุขภาพ 1. การสื่อสารเปลี่ยนรูปแบบ มีเทคโนโลยีมากขึ้น [...]

Tags:

การพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง

ความรู้ที่ได้จากการร่วมประชุม ครอบครัวชุมชนเข้มแข็ง กรอบแนวคิดการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งแบบยั่งยืนทางด้านสุขภาพ Conceptual Framework of Sustainable Community Development on Health หลักการสำคัญ ในการจัดการสุขภาพในของชุมชน 1. ชุมชนต้องรู้ปัญหาของตนเอง 2. ต้องรู้ว้าตนเองมีต้นทุนอะไรบ้าง 3. จะนำทุนมาแก้ไขปัญหา 4. ต้องมีแกนนำที่แก้ปัญหาได้แล้วและทำเป็นแบบอย่าง 5. ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์แบบของชุมชน เป็นสิ่งพิสูจน์และทำให้เกิดการยอมรับ และทำตามในชุมชน 6. ใช้การสื่อสารสุขภาพในชุมชน เป็นตัวเชื่อม 7. กระบวนการการจัดการความรู้ของชาวบ้าน โดยส่งเสริมให้ชาวบ้านได้เรียนรู้ผลการดำเนินการแก้ปัญหาสุขภาพในชุมชน ใช้วิธีการแบบชาวบ้าน 8. บทบาทของท้องถิ่นสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นต้นแบบ และนำข้อมูลของชาวบ้านเข้าสู่ระบบการจัดการของท้องถิ่น และสนับสนุนงบประมาณ 9. ท้องถิ่นเป็นผู้สร้างกระแส และเป็นตัวเชื่อมกับภายนอก 10. ถ้าชุมชนใดมีผู้บริหาร อปท. เป็นโรคเรื้อรัง ต้องใช้โอกาสในการทำคนนี้มาเป็นแกนนำ 11. การให้ความสำคัญของเรื่อง Prevention and promotion ยังชัดเจน 12. ถ้าชุมชนยังไม่กินดีอยู่ดี คนจะไม่คิดถึงสุขภาพ **สอน นศ. [...]

Tags: