สรุปความรู้จากการอบรม “รูปแบบการวิจัยสุขภาพและการใช้สถิติขั้นสูง รุ่นที่ 13”

สรุปความรู้จากการอบรม “รูปแบบการวิจัยสุขภาพและการใช้สถิติขั้นสูง รุ่นที่ 13”

วันที่ 21-25 มกราคม พ.ศ. 2556 ณ ห้องประชุม 322 ชั้น 3 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

Classifications of Research Studies: Three Main Types

1.Observational Studies:

  • Groups are studied & contrasts made between groups
  •  The observed data collected are analyzed

2.Analytic Studies:

  •  Also called Experimental
  •   Study the impact of a certain therapy
  •   Ultimately the investigator controls  factor being studied

3.Clinical Trial:

  • Considered the “true” experimental study
  • “Gold Standard” of clinical research
  • Often a prospective study that compares the effect and value of an intervention against a control in human subjects

3.1  Core Components of Clinical Trials

  • Involve human subjects
  • Move forward in time
  • Most have a comparison CONTROL group
  • Must have method to measure intervention
  • Focus on unknowns: effect of medication
  • Must be done before medication is part of standard of care
  • Conducted early in the development of therapies
  • Must review existing scientific data & build on that knowledge
  • Test a certain hypothesis
  • Study protocol must be built on sound & ethical science
  • Control for any potential biases
  • Most study medications, procedures, and/or other interventions

3.2 Phases of Clinical Trials

  • Phase I: Small group [20-80] for 1st time to evaluate safety, determine safe dosage range & identify SE
  • Phase II: Rx/tx given to larger group [100-300] to confirm effectiveness, monitor SE, & further evaluate safety
  • Phase III: Rx/tx given to even larger group [1,000-3,000] to fulfill all of Phase II objectives & compare it to other commonly used txs & collect data that will allow it to be used safely
  • Phase IV: Done after rx/tx has been marketed – studies continue to test rx/tx to collect data about effects in various populations & SE from long term use.

 Classification Technique such as

4.1 Cluster Analysis

4.2 Discriminant Analysis

4.3 Logistic Regression Analysis

Cluster Analysis

1. Cluster analysis is a technique used for classifying observations into groups or clusters.

2. Each cluster or group is homogeneous or compact with respect to certain characteristics. That is observations in each group are similar to each other.

3. Each group should be different from other groups with respect to the same characteristics; that is, observations of one group should be different from the observation of other groups.

Objective of Cluster Analysis

To group observations into clusters such that each cluster is as homogeneous as possible with respect to the clustering variables.

Type of Clustering

1. Hierarchical Clustering

2. Non-Hierarchical Clustering

3. Two Step Clustering

4. Neural Network

 

รายชื่ออาจารย์ที่ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

1. อ. คนึงนิตย์ พงษ์สิทธิถาวร
2. อ. สาคร พร้อมเพราะ
3. อ. สุชาดา นิ้มวัฒนากุล
4. อ. ขวัญสุวีย์  อภิจันทรเมธากุล
5. อ. นวนันท์ ปัทมสุทธิกุล
6. อ. รัชสุรีย์ จันทเพชร
7. อ. สุปราณี ฉายวิจิตร
8. อ. ดร  ทองสวย  สีทานนห์
9. อ. วารุณี สุวรวัฒนกุล
10. อ. ปาลีรัญญ์  ฐาสิรสวัสดิ์
11. อ. รสสุคนธ์ เจริญสัตย์ศิริ
12. อ.ยศพล  เหลืองโสมนภา
13. อ. นุชนาถ  ประกาศ
14. อ. จริยาพร วรรณโชติ
15. อ. สุกัญญา ขันวิเศษ
16. อ. สุภา คำมะฤทธิ์
17. อ. ปรีดาวรรณ บุญมาก
18. อ. อรพรรณ  บุญลือ

Print Friendly
ผู้เขียน อ.รุ่งนภา เขียวชะอ่ำ (ประวัติการเขียน 5 เรื่อง)

อาจารย์พยาบาลสังกัด ภาควิชาการพยาบาลเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ


Tags: ,

2 Responses to “สรุปความรู้จากการอบรม “รูปแบบการวิจัยสุขภาพและการใช้สถิติขั้นสูง รุ่นที่ 13””

  1. ยศพล เหลืองโสมนภา พูดว่า:

    สถิตเป็นสิ่งที่ใครรู้มากจะได้เปรียบเยอะ ในการทำวิจัย เพราะสามารถออกแบบวิจัยได้กว้าง แต่สถิติ เป็นอะไรที่ต้องทำกับมือ แล้วจะเข้าใจได้ดี เพราะจะเจอปัญหาอยู่เรื่อยๆให้เราได้ฝึกแก้ปัญหา โดยเฉพาะพวกสถิติกลุ่ม intermidiate หรือ advance จะมีอะไรที่ต้องจำและเข้าใจเยอะกว่ามาก การใช้สถิติ ไม่ใช่เป็นการใช้ตอนที่จะวิเคราะห์ข้อมูล แต่จะใช้ตั้งแต่การออกแบบวิจัยแต่แรกเลย ที่สำคัญ หลายคนเข้าใจผิด เอาสถิติมาเป็นตัวกำหนดการทำวิจัย สถิติแค่ descriptive แต่ทำให้ค้นพบความรู้ที่กระเพื่อมความรู้เก่าได้มาก ก็ดูดีกว่าวิจัยที่ใช้สถิติสูง แต่ไม่มีองค์ความรู้อะไรที่โดดเด่นกว่าเดิม สุดท้าย สถิติก็มีอะไรใหม่ขึ้นเช่นองค์ความรู้อื่น หากเรียนจบมาแล้ว ไม่ตามความรู้ก็ล้าหลังได้เช่นกัน

  2. rungnapha khiewchaum พูดว่า:

    สถิติเป็นสิ่งค่อนข้างยากสำหรับสายวิชาชีพทางการพยาบาล แต่เป็นส่ิงที่วิชาชีพเราจะหลีกหนีไม่ได้เพราะวิจัยเป็นส่ิงที่จำเป็นเพื่อให้ได้องค์ความรู้ใหม่ ๆ เพื่อให้ได้วิจัยที่มีความน่าเชื่อถือ เร่ิมตั้งแต่ คำถามการวิจัยซึ่งเป็นส่ิงสำคัญ หลายคนยังเข้าใจว่า เร่ิมต้นของการทำวิจัยต้องเร่ิมจากการใช้สถิติอะไรดี ซี่งเป็นความเข้าใจท่ี่ผิด ดังนั้นการทำวิจัยไม่ใช่แค่การใช้สถิติอะไรดี แต่ต้องเร่ิมตั้งแต่ระเบียบวิจัย โดยการใช้สถิติเป็นแค่เพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น