รายงานการประชุมของ CoP การดูแลผู้ป่วยวิกฤติและเรื้อรัง ภาควิชาการพยาบาลเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ

วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี
รายงานการประชุมของ CoP การดูแลผู้ป่วยวิกฤติและเรื้อรัง
ภาควิชาการพยาบาลเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ

ครั้งที่ 3 วันที่ 6 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2557 ณ ห้องรับรอง เวลา 09.00 -10.00 น.

เรื่อง การจัดกระบวนการการเรียนรู้สู่การพัฒนาจิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ผ่านกระบวนการ PLC
1. วัตถุประสงค์ในการดำเนินการครั้งนี้
เพื่อให้พัฒนานักศึกษาภายใต้ระบบครอบครัวเสมือนสู่จิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ผ่านกระบวนการ PLC
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 17 คน ได้แก่
1. อ.ขวัญสุวีย์ อภิจันทรเมธากุล ประธานกลุ่ม
2. อ.ปัทมา บุญช่วยเหลือ ผู้จัดการ
3. อ.รัชสุรีย์ จันทเพชร สมาชิก
4. อ.สาคร พร้อมเพราะ สมาชิก
5. อ. คนึงนิตย์ พงษ์สิทธิถาวร สมาชิก
6. อ.นวนันท์ ปัทมสุทธิกุล สมาชิก
7. อ.สุปราณี ฉายวิจิตร สมาชิก
8. อ.ยศพล เหลืองโสมนภา สมาชิก
9. อ.วารุณี สุวรวัฒนกุล สมาชิก
10. อ.ปาลีรัญญ์ ฐาสิรสวัสดิ์ สมาชิก
11. อ.รสสุคนธ์ เจริญสัตย์สิริ สมาชิก
12. อ.รุ่งนภา เขียวชอ่ำ สมาชิก
13. อ.จริยาพร วรรณโชติ สมาชิก
14. อ.อรพรรณ บุญลือ สมาชิก
15. อ.ปรีดาวรรณ บุญมาก สมาชิก
16. อ.ปัทมา บุญช่วยเหลือ สมาชิก
17. อ.สุภา คำมะฤทธิ์ เลขานุการ

กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ประเด็นสำคัญ สาระสำคัญ/ประเด็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
(เรื่องเล่าความสำเร็จ) อ้างอิง (ชื่อ-สกุล)
1. ประเด็นที่น่าสนใจในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -จุดเน้น ของ PLC
• เป็นการเรียนรู้ร่วมกันมากกว่าการสอน
• การทำงานร่วมกัน
• ความรับผิดชอบต่อตนเอง
การเรียนรู้
-เหตุผลของการจัดการเรียนรู้
-สิ่งที่จัดการเรียนรู้
-วิธีการจัดการเรียนรู้
-การเรียนรู้ด้วยจิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
1. การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
1.1 ความรักความเมตตา
1.2 ใส่ใจข้อมูลของผู้รับบริการ
1.3 มีความเชิงระบบ
1.4 ใช้กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
1.5 ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
2. สุนทรียสนทนา
3. การคิดเชิงเป็นระบบ (System thinking)
-จิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
คุณลักษณะ 3 ประการ คือ
1) จิตบริการ (Service Mind)
2) การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)
3) การให้ผู้รับบริการมีส่วนร่วม (Participation) สมาชิกกลุ่ม
2.แนวทางการปฏิบัติเพื่อนำไปใช้ในการสอน แนวทางการปฏิบัติเพื่อนำไปใช้ในการสอนวิชาภาคปฏิบัติของรายวิชาในภาควิชา คือ ปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 1-3 ชี้ให้ผู้เรียนเห็นถึงความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยด้วยจิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ โดยการนำความรู้ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละวัยและแต่ละราย สมาชิกกลุ่ม

ความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากกิจกรรมครั้งนี้ (สรุปประเด็นความรู้ พร้อมคำอธิบาย โดยสังเขป)
ตามเอกสารแนบท้าย
แนวทางการนำความรู้ไปใช้ (ระบุรายละเอียด)
นำความรู้เกี่ยวกับการบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ไปใช้ในการเรียนการสอนโดยเน้นการสอนให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยการบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ทั้งผู้ป่วยวิกฤตและผู้ป่วยเรื้อรัง โดยประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละราย

จบกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 3 เวลา 10.00 น.

ลงชื่อ …………………………………………… ผู้จดบันทึก
(นางสาวสุภา คำมะฤทธิ์)
ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพ

Print Friendly
ผู้เขียน อ.สุภา คำมะฤทธิ์ (ประวัติการเขียน 2 เรื่อง)


Comments are closed.