โรคเรื้อรังในหญิงตั้งครรภ์ “เบาหวานในหญิงตั้งครรภ์”

โครงการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานวิจัยและวิชาการร่วมกับแหล่งฝึก ระหว่างวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี และกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลพระปกเกล้า ครั้งที่ 3 วันที่ 21 มีนาคม 2554  เวลา 13.30 -16.00 น. ณ ห้องประชุมอเนกประสงค์   วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า  จันทบุรี   เรื่อง โรคเรื้อรังในหญิงตั้งครรภ์ “เบาหวานในหญิงตั้งครรภ์” วิทยากร อ.ทิพวรรณ   ลิ้มประไพพงษ์   พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ ดร. ศรีสุดา   งามขำ  พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ ผู้เข้าร่วมประชุม จากวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า  จันทบุรี จำนวน  32  คน จากโรงพยาบาลพระปกเกล้า  12  คน รวมผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด  44  คน Related Posts by Tagsการแลกเปลี่ยนเรียนรุ้ “Paliative care’ การพยาบาลแบบประคับประคอง Heart to Heart: Quality of Palliative [...]

Tags: , , , ,

บรูณาการรายวิชา พย.1412 กับงานวิจัยผลของรางจืด

ชื่อโครงการ บริการวิชาการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชา พย.1412 ปฏิบัติการพยาบาลครอบครัว และชุมชน 2 กับงานวิจัยเรื่องผลของรางจืดร่วมกับการให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการได้รับ สารเคมีเข้าสู่ร่างกายในผู้ที่มีผลการตรวจสารเคมีในเลือดในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัย จัดโครงการเมื่อ วันที่   16 – 28  พฤศจิกายน  2553 สรุปกิจกรรมโครงการโดยย่อ การดำเนินโครงการบริการวิชาการโครงการนี้เป็นโครงการที่มีการบูรณาการในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2 ซึ่งมีนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2553 เข้าร่วมโครงการ   มีส่วนร่วมในการบริการวิชาการ และการวิจัย โดยปฏิบัติกิจกรรมทุกกิจกรรมที่ดำเนินการร่วมกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการและพยาบาลเวชปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตาเรืองดังนี้ 1. เจาะเลือดตรวจหาระดับสารเคมีในเลือดก่อนและหลังการให้รับประทานรางจืดเถา 2. ประเมินความรู้เรื่องการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันสารเคมีเข้าสู่ร่างกายก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ 3. ให้ความรู้เรื่องการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย -   จากการพ่นสารเคมีฆ่าแมลงและกำจัดวัชพืช -    จากการรับประทานอาหารและการดำเนินชีวิตประจำวัน 4. ให้ผู้รับบริการที่มีระดับสารเคมีในเลือดในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยรับประทานรางรางจืดเถาจำนวน 5   ใบต้มกับน้ำ 250  ซีซี เดือดนาน 15 นาที ทิ้งไว้พออุ่นดื่มให้หมดครั้งเดียวเป็นเวลา 7วันก่อนอาหารเช้า 5.  แจกกล้าต้นรางจืดเถา 6. สังเกตพฤติกรรมการใช้สารเคมี การสังเคราะห์สาระ ความรู้  และประเด็นที่น่าสนใจ 1. [...]

Tags: , , , , ,

จะทำให้นักศึกษาจดจำได้ดีต้องทำอย่างไร?

สรุปการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็น “จะทำให้นักศึกษาจดจำได้ดีต้องทำอย่างไร? ” วันที่ประชุม 3 พฤษภาคม 2554  เวลา 11.00 – 11.30 น ผู้นำและบันทึกการประชุม อ. ยศพล   เหลืองโสมนภา ผู้ร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นอาจารย์ประจำภาควิชาการพยาบาลเด็ก  ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุดังนี้ อ.คนึงนิตย์ พงษ์สิทธิถาวร อ. สุชาดา  นิ้มวัฒนากุล อ. สาคร พร้อมเพราะ อ. คงขวัญ  จันทรเมธากุล อ. สุปราณี  ฉายวิจิตร์ อ. นวนันท์  ปัทมสุทธิกุล อ. รัชสุรีย์  จันทเพชร อ. วารุณี  สุวรวัฒนกุล อ. จริยาพร  วรรณโชติ อ.พจนาถ  บรรเทาวงษ์ อ. นุชนาถ  ประกาศ อ. สุกัญญา ขันวิเศษ อ. ศศิโสภิต [...]

การเตรียมนักศึกษาชั้นปี 4 สอบสภาฯ ปีการศึกษา 2553 [ประชุมครั้งที่ 3]

รายงานการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเตรียมนักศึกษาชั้นปี 4 นักศึกษารุ่นที่ 43 เพื่อสอบสภาฯ ปีการศึกษา 2553 สรุปประเด็นสำคัญจากการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของฝ่ายวิชาการ ฝ่ายวิจัยและการจัดการความรู้ และอาจารย์ผู้สอน การประชุม ครั้งที่ 3 วันที่ 11 มีนาคม 2554 ประธานการประชุม: ดร.มัณฑนา เหมชะญาติ ผู้บันทึกการประชุม: อ.รัชชนก สิทธิเวช ผู้เข้าร่วมประชุม      1. อ. คนึงนิตย์ พงษ์สิทธิถาวร 2. อ.ธนพร ศนีบุตร      3. อ.สุชาดา นิ้มวัฒนากุล 4. อ.คงขวัญ จันทรเมธากุล      5. อ. ยศพล เหลืองโสมนภา 6. อ. นุชนาถ ประกาศ      7. ดร. กมลทิพย์ ตั้งหลักมั่นคง 8. ดร. ศรีสุดา งามขำ      9. ดร.พรฤดี [...]

Tags: , , , , , , ,

สาระสำคัญของการเรียนรู้ที่ได้จากการอบรมพัฒนาศักยภาพนักวิจัยของบุคลากรทางสาธารณสุข

การจัดการความรู้ด้านการผลิตงานวิจัยที่มีคุณภาพ สาระสำคัญของการเรียนรู้ที่ได้จากการอบรมพัฒนาศักยภาพนักวิจัยของบุคลากรทางสาธารณสุข เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 ประธานการประชุม: อ.ดร.มัณฑนา เหมชะญาติ ผู้เข้าร่วมประชุม      1. อ.ทิพวรรณ ลิ้มประไพพงษ์      2. อ.ดร.พรฤดี นิธิรัตน์      3. อ.ดร.ปิ่นนเรศ กาศอุดม      4. อ.คณิสร แก้วแดง สาระสำคัญของการเรียนรู้จากการอบรมพัฒนาศักยภาพนักวิจัยของบุคลากรทางสาธารณสุข      สาระสำคัญที่สรุปได้คือ “ต้องทำให้ทุกขั้นตอนของการวิจัยไม่ใช่เรื่องยาก น่าสนใจ และทำวิจัยแล้วผู้วิจัยรู้สึกว่าตนเองฉลาดขึ้น”      จากประสบการณ์ที่ได้ดำเนินโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยให้กับบุคลากรทางสาธารณสุขและจากการเป็นวิทยากรบรรยายและวิทยากรพี่เลี้ยงตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นกระบวนการอบรม ซึ่งรวมทั้งหมดประมาณ 7 วงรอบ คณาจารย์ที่ร่วมทีมงานดังกล่าวมีข้อสรุปสาระสำคัญขององค์ความรู้เกี่ยวกับการผลิตผลงานวิจัยและการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยให้กับบุคลากรทางสาธารณสุข ดังนี้ Related Posts by Tagsสรุปการจัดการความรู้ CoP “การทำวิจัยให้สำเร็จและมีคุณภาพ” ครั้งที่ 2 รายงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ CoP “การทำวิจัยให้สำเร็จและมีคุณภาพ” ครั้งที่ 2 สรุปการจัดการความรู้ CoP “การทำวิจัยให้สำเร็จและมีคุณภาพ” ครั้งที่ 1 รายงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ CoP “การทำวิจัยให้สำเร็จและมีคุณภาพ” ครั้งที่ [...]

Tags: , , , , , ,